งานวิจัยวิทยาศาสตร์
เรื่องการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ผู้เเต่ง : นางยุพาภรณ์ ชูลาย
ชื่อเรื่อง : การเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
จุดมุ่งหมาย
2.เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติก่อนและหลังการทดลอง
ตัวแปรตาม : ที่มีผลต่อทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย
นิยามศัพท์เฉพาะ
เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กปฐมวัยชาย
หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 3
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
โรงเรียนเทศบาล 2 สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมือง
จังวัดเพชรบูรณ์
ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
2.ทักษะการจำเเนกประเภท หมายถึง
ความสามารถในการแบ่งพวก เรียงลำดับวัตถุโดยมีเกณฑ์ เกณฑ์ดังกล่าวอาจจะใช้
ความเหมือน ความเเตกต่าง หรือความสัมพันธ์
อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
3.ทักษะหามิติสัมพันธ์ หมายถึง
ความสามารถในการบอกความสัมพันธ์ในการบอกความสัมพันธ์ในมิติต่างๆ ได้แก่
รูปร่างหรือรูปทรง ขนาด
สมมุติฐานงานวิจัย
เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ
มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นกว่าก่อนการทดลอง
วิธีการดำเนินการวิจัย
กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยครั้งนี้คือ
เด็กปฐมวัยชาย หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี
ศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนเทศบาล 2
สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมือง จังวัดเพชรบูรณ์
มีขั้นตอนในการเลือกกลุ่มตัวอย่างดังนี้
1.1 เลือกกลุ่มตัวอย่างจากนักเรียน 6
ห้องเรียน โดยจับฉลากมา 1 ห้องเรียนโดยได้นักเรียนชั้นอนุบาล 3/1
จำนวน 30 คน
1.2 จากกลุ่มตัวอย่างในข้อ 1
สุ่มอย่างง่ายอีกครั้ง
2.เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
-แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ
-แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
3.ขั้นตอนการวิจัย
-ขอความร่วมมือผู้บรหารโรงเรียนในการทำวิจัย
-ชี้แจงให้ครูประจำชั้นทราบรูปแบบงานวิจัย
และขอความร่วมมือ
-สร้างความคุ้นเคยกับเด็กกลุ่มตัวอย่างเป็นระยะเวลา
3 สัปดาห์
-ก่อนทำการทดลองผู้ทำการทดลองวิจัยต้องทดลองการทำก่อน
-ดำเนินการทดลองโดยการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ
ที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ระหว่างวันที่ / สิงหาคม 2554
ถึง 22 กันยายน 2554
ใช้เวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3
วัน ได้เเก่ วันจันทร์ พุธ ศุกร์ วันละ 40
นาที ในช่วงกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เวลา 09.00 - 09.40 น.
รวมทั้งสิ้น 24 ครั้ง
-เมื่อเสร็จสิ้นการดลอง 8
สัปดาห์ ประเมินหลังการทดลองด้วยแบบทดสอบวิทยาศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
pre - Test เพื่อเปรียบเทียบก่อน หลังการทดลอง
และใช้คะเเนนเป็นตัววิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีทางสถิติสมมุติฐานเพื่อนสรุปงานวิจัยต่อไป
สรุปผลการวิจัย
2.หลังการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติเด็กปฐมวัยีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นกว่าก่อนใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติทั้งโดยรมและรายทักษะอย่างมีนัยสำคัญจากสถิติที่ลำดับ
01